แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีกรุงธน

การตลาด

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) - 3 ปี

ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการตลาด สาขางานการตลาด

ภาคปกติ (เรียนวันจันทร์-ศุกร์)
• วุฒิการศึกษา: รับผู้สำเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3
• เพศ: ชาย/หญิง
• อายุ: ระหว่าง 15-18 ปี


สาขาการตลาดจัดหลักสูตรการเรียนการสอนเน้นให้นักศึกษามีทักษะทางการตลาด เช่น การนำเสนอการขาย ความเข้าใจในเรื่ององค์ประกอบ การเขียนแผนธุรกิจ การพัฒนาสินค้า วิเคราะห์ทางการตลาดในปัจจุบัน รวมไปถึงงานวิจัยการตลาดเพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้กับนักศึกษาเป็นผู้ประกอบการได้ด้วยตนเอง

ระดับหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
วุฒิการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (การตลาด)
วุฒิการศึกษา (ย่อ) ปวช. (การตลาด)
แผนกวิชา แผนกการตลาด
ประเภทวิชา พาณิชยกรรม
สาขาวิชา การตลาด
สาขางาน การตลาด
วันที่เรียน ภาคปกติ (เรียนวันจันทร์-ศุกร์)
คุณสมบัติผู้สมัคร • วุฒิการศึกษา: รับผู้สำเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3
• เพศ: ชาย/หญิง
• อายุ: ระหว่าง 15-18 ปี
อาชีพที่รองรับ • ศึกษาต่อระดับปริญญาตรีได้ในคณะ/สาขาที่เกี่ยวข้อง: คณะบริหารธุรกิจ, คณะวิทยาการจัดการ, สาขาการตลาด
• สายอาชีพในองค์กร: เป็นเจ้าของกิจการของตนเอง, นักวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาด (Strategic Marketing Planner), นักวิจัยตลาด หรือ นักวิเคราะห์การตลาด (Market Researcher or Marketing Analyst), นักการตลาดดิจิทัล (Digital Marketer), นักประชาสัมพันธ์ (Public Relations), ที่ปรึกษาด้านการตลาด (Marketing Consultant), นักสื่อสารเนื้อหาทางการตลาด (Content Marketing), นักโฆษณา (Advertisers), นักจัดกิจกรรมทางการตลาด (Event Marketing)
โครงสร้างหลักสูตร

Krungthon_แผนกการตลาด-ปวช-สาขาวิชาการตลาด-สาขางานการตลาด.pdf

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562

ประเภทวิชาพาณิชยกรรม แผนกการตลาด สาขาวิชาการตลาด สาขางานการตลาด


จุดประสงค์สาขาวิชา

  1. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านภาษาและการสื่อสาร  ทักษะการคิดและการ แก้ปัญหา ทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิตในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
  2. เพื่อให้มีความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักการบริหารและจัดการวิชาชีพ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และหลักการงานอาชีพที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพการตลาดให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าของเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
  3. เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการและกระบวนการทำงานในกลุ่มงานพื้นฐานด้านการตลาด
  4. เพื่อให้สามารถในงานบริการทางการขายตามหลักการและกระบวนการในลักษณะครบวงจรเชิง ธุรกิจ โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในงานอาชีพการตลาด
  5. เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานด้านการตลาดในสถานประกอบการและประกอบอาชีพอิสระ รวมทั้งการ ใช้ความรู้ และทักษะเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นได้
  6. เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานและดำรงชีวิตโดยประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการ ใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า คำนึงถึงความปลอดภัยต่อตนเอง ผู้อื่นและการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม
  7. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบ วินัย มีความ รับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพติด

มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ

คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการตลาด ประกอบด้วย

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์

  1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่ ความเสียสละ ความซื่อสัตย์สุจริต
    ความกตัญญูกตเวที ความอดกลั้น การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน การมีจิตสำนึกและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ และสังคม ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น ประพฤติปฏิบัติตาม บทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
  2. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความรักสามัคคี มีมนุษยสัมพันธ์ ความเชื่อมั่นในตนเอง สนใจใฝ่รู้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ขยัน ประหยัด อดทน พึ่งตนเอง ต่อต้านความรุนแรงและการทุจริต ปฏิบัติตนและปฏิบัติงานโดยคานึงถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

ด้านสมรรถนะแกนกลาง

ด้านความรู้

  1. หลักการใช้ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
  2. หลักการใช้เหตุผล คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและการจัดการ
  3. หลักการดำรงตนและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม
  4. หลักการปรับตัวและดำเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่

ด้านทักษะ 

  1. ทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  2. ทักษะการคิดและการแก้ปัญหาโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
  3. ทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิตตามหลักศาสนา วัฒนธรรมและความเป็นพลเมืองและหลักการพัฒนาบุคลิกภาพและสุขอนามัย

ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ

  1. สื่อสารโดยใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ
  2. แก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
  3. ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมทางสังคมและสิทธิหน้าที่พลเมือง
  4. พัฒนาบุคลิกภาพและสุขอนามัยโดยใช้หลักการและกระบวนการด้านสุขศึกษาและพลศึกษา

ด้านสมรรถนะวิชาชีพ

ด้านความรู้

  1. หลักการทั่วไปของงานอาชีพเฉพาะและการวิเคราะห์เบื้องต้น
  2. หลักการตัดสินใจ วางแผนและแก้ไขปัญหา
  3. หลักการเลือกใช้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพ 
  4. หลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  5. หลักการจัดการงานอาชีพ

ด้านทักษะ 

  1. ทักษะการเลือกและประยุกต์ใช้วิธีการ เครื่องมือและวัสดุขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติงาน
  2. ทักษะการปฏิบัติงานพื้นฐานอาชีพและงานเฉพาะตามแบบแผนที่กาหนด
  3. ทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
  4. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 
  5. ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ

  1. วางแผน ดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงการบริหารงาน คุณภาพ การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง
  2. ปฏิบัติงานพื้นฐานอาชีพการตลาดตามหลักการและกระบวนการ
  3. เลือก ใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ในงานอาชีพตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย
  4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่อพัฒนาและสนับสนุนงานอาชีพ
  5. วางแผนขายสินค้าหรือบริการประเมินผลและรายงานการขาย
  6. จัดทำฐานข้อมูลทางการตลาด
  7. เขียนแผนธุรกิจตามลักษณะการดาเนินธุรกิจ
  8. สร้างสรรค์งานโฆษณา
  9. จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายและจัดแสดงสินค้า
  10. ปฏิบัติการขายสินค้าออนไลน์
  11. วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค และการแบ่งส่วนตลาด การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
  12. ตัดสินใจ วางแผนและแก้ไขปัญหาในงานอาชีพการตลาดที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุม
  13. ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการในบางเรื่องแก้ปัญหาและการปฏิบัติงานการตลาด
  14. ให้คำแนะนำพื้นฐานที่ต้องใช้การตัดสินใจและการปฏิบัติงานแก่ผู้ร่วมงาน
  15. สร้างสรรค์ สื่อสาร บูรณาการความรู้ด้านการตลาด ศาสตร์อื่น ๆ และประสบการณ์ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการและปฏิบัติงานด้านการตลาด
การตลาด

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) - 2 ปี

ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด สาขางานการตลาด

ภาคปกติ (เรียนวันจันทร์-ศุกร์)
• วุฒิการศึกษา: รับผู้สำเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
• เพศ: ชาย/หญิง
• อายุ: ระหว่าง 18-30 ปี


สาขาการตลาดจัดหลักสูตรการเรียนการสอนเน้นให้นักศึกษามีทักษะทางการตลาด เช่น การนำเสนอการขาย ความเข้าใจในเรื่ององค์ประกอบ การเขียนแผนธุรกิจ การพัฒนาสินค้า วิเคราะห์ทางการตลาดในปัจจุบัน รวมไปถึงงานวิจัยการตลาดเพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้กับนักศึกษาเป็นผู้ประกอบการได้ด้วยตนเอง

ระดับหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
วุฒิการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (การตลาด)
วุฒิการศึกษา (ย่อ) ปวส. (การตลาด)
แผนกวิชา แผนกการตลาด
ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ
สาขาวิชา การตลาด
สาขางาน การตลาด
วันที่เรียน ภาคปกติ (เรียนวันจันทร์-ศุกร์)
คุณสมบัติผู้สมัคร • วุฒิการศึกษา: รับผู้สำเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
• เพศ: ชาย/หญิง
• อายุ: ระหว่าง 18-30 ปี
อาชีพที่รองรับ นักการตลาด, นักลงทุน, พนักงานฝ่ายบุคคล, ผู้จัดการ ในองค์กรเอกชน หรือ ในรัฐวิสาหกิจ, พนักงานด้านการประชาสัมพันธ์, พนักงานขาย, นักธุรกิจส่วนตัว
โครงสร้างหลักสูตร

Krungthon_แผนกการตลาด-ปวส-สาขาวิชาการตลาด-สาขางานการตลาด.pdf

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563

ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ แผนกการตลาด สาขาวิชาการตลาด สาขางานการตลาด


จุดประสงค์สาขาวิชา

  1. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านภาษาและการสื่อสาร  ทักษะการคิดและการ แก้ปัญหา ทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิตในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
  2. เพื่อให้มีความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักการบริหารและจัดการวิชาชีพ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และหลักการงานอาชีพที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพการตลาดให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าของเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
  3. เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการและกระบวนการทำงานในกลุ่มงานพื้นฐานด้านการตลาด
  4. เพื่อให้สามารถในงานบริการทางการขายตามหลักการและกระบวนการในลักษณะครบวงจรเชิง ธุรกิจ โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในงานอาชีพการตลาด
  5. เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานด้านการตลาดในสถานประกอบการและประกอบอาชีพอิสระ รวมทั้งการ ใช้ความรู้ และทักษะเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นได้
  6. เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานและดำรงชีวิตโดยประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการ ใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า คำนึงถึงความปลอดภัยต่อตนเอง ผู้อื่นและการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม
  7. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซื่อสัตย์สุจริต มีระเบียบ วินัย มีความ รับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพติด

มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ

คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการตลาด ประกอบด้วย

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์

  1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่ ความเสียสละ ความซื่อสัตย์สุจริต
    ความกตัญญูกตเวที ความอดกลั้น การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน การมีจิตสำนึกและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ และสังคม ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น ประพฤติปฏิบัติตาม บทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
  2. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความรักสามัคคี มีมนุษยสัมพันธ์ ความเชื่อมั่นในตนเอง สนใจใฝ่รู้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ขยัน ประหยัด อดทน พึ่งตนเอง ต่อต้านความรุนแรงและการทุจริต ปฏิบัติตนและปฏิบัติงานโดยคานึงถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

ด้านสมรรถนะแกนกลาง

ด้านความรู้

  1. หลักการใช้ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
  2. หลักการใช้เหตุผล คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและการจัดการ
  3. หลักการดำรงตนและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม
  4. หลักการปรับตัวและดำเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่

ด้านทักษะ 

  1. ทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  2. ทักษะการคิดและการแก้ปัญหาโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
  3. ทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิตตามหลักศาสนา วัฒนธรรมและความเป็นพลเมืองและหลักการพัฒนาบุคลิกภาพและสุขอนามัย

ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ

  1. สื่อสารโดยใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ
  2. แก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
  3. ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมทางสังคมและสิทธิหน้าที่พลเมือง
  4. พัฒนาบุคลิกภาพและสุขอนามัยโดยใช้หลักการและกระบวนการด้านสุขศึกษาและพลศึกษา

ด้านสมรรถนะวิชาชีพ

ด้านความรู้

  1. หลักการทั่วไปของงานอาชีพเฉพาะและการวิเคราะห์เบื้องต้น
  2. หลักการตัดสินใจ วางแผนและแก้ไขปัญหา
  3. หลักการเลือกใช้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในงานอาชีพ 
  4. หลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  5. หลักการจัดการงานอาชีพ

ด้านทักษะ 

  1. ทักษะการเลือกและประยุกต์ใช้วิธีการ เครื่องมือและวัสดุขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติงาน
  2. ทักษะการปฏิบัติงานพื้นฐานอาชีพและงานเฉพาะตามแบบแผนที่กาหนด
  3. ทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
  4. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 
  5. ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ

  1. วางแผน ดำเนินงานตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงการบริหารงาน คุณภาพ การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง
  2. ปฏิบัติงานพื้นฐานอาชีพการตลาดตามหลักการและกระบวนการ
  3. เลือก ใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ในงานอาชีพตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย
  4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่อพัฒนาและสนับสนุนงานอาชีพ
  5. วางแผนขายสินค้าหรือบริการประเมินผลและรายงานการขาย
  6. จัดทำฐานข้อมูลทางการตลาด
  7. เขียนแผนธุรกิจตามลักษณะการดาเนินธุรกิจ
  8. สร้างสรรค์งานโฆษณา
  9. จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายและจัดแสดงสินค้า
  10. ปฏิบัติการขายสินค้าออนไลน์
  11. วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค และการแบ่งส่วนตลาด การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
  12. ตัดสินใจ วางแผนและแก้ไขปัญหาในงานอาชีพการตลาดที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุม
  13. ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการในบางเรื่องแก้ปัญหาและการปฏิบัติงานการตลาด
  14. ให้คำแนะนำพื้นฐานที่ต้องใช้การตัดสินใจและการปฏิบัติงานแก่ผู้ร่วมงาน
  15. สร้างสรรค์ สื่อสาร บูรณาการความรู้ด้านการตลาด ศาสตร์อื่น ๆ และประสบการณ์ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการและปฏิบัติงานด้านการตลาด

ด้านสมรรถนะวิชาชีพการตลาด ระดับ ปวส.

คุณภาพของผู้สําเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด ประกอบด้วย

ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์

  1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพเช่น ความเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต กตัญูกตเวที อดกลั้น ละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน มีจิตสํานึกและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพและสังคมเป็นต้น
  2. ด้านพฤติกรรมลักษณะนิสัย เช่น ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความรักสามัคคี มีมนุษยสัมพันธ์ เชื่อมั่นในตนเอง ขยัน ประหยัด อดทน พึ่งตนเอง ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย อาชีวอนามัย การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
  3. ด้านทักษะทางปัญญา เช่น ความรู้ในหลักทฤษฎี ความสนใจใฝ่รู้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ เป็นต้น

ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป 

  1. สื่อสารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในชีวิตประจําวันและเพื่อพัฒนางานอาชีพ
  2. แก้ไขปัญหาและพัฒนางานอาชีพโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
  3. มีบุคลิกภาพและคุณลักษณะเหมาะสมกับการปฏิบัติงานอาชีพและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
  4. ประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะประสบการณ์และเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมและพัฒนางานอาชีพ 

ด้านสมรรถนะวิชาชีพ

  1. วางแผน ดําเนินงาน จัดการและพัฒนางานอาชีพตามหลักการและกระบวนการ โดยคํานึงถึงการบริหารงานคุณภาพการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม และหลักความปลอดภัย
  2. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อพัฒนางานอาชีพ
  3. ประยุกต์ใช้หลักการและกระบวนการด้านการตลาดในงานอาชีพสาขางานการตลาด
  4. กําหนดกลยุทธ์การตลาดโดยใช้กระบวนการวิจัยการตลาดและการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค 
  5. วางแผน เตรียมการดําเนินงานด้านการตลาด
  6. ปฏิบัติการด้านการตลาดตามหลักการและกระบวนการประสานงาน แก้ปัญหาและหรือพัฒนางาน ติดตามและประเมินผล
  7. เลือก/ใช้/ประยุกต์ใช้ปัจจัย เทคนิควิธีการและเทคโนโลยีในการปฏิบัติงานด้านการตลาด